วันอาทิตย์ที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552

วิชา กำลังพลสำรอง

๘๑. ระบบย่อยที่รองรับระบบใหม่ของประเทศไทย (เริ่มใช้ปี ๒๕๔๗) ยังคงใช้ ๕ ระบบเดิม อยากทราบว่าระบบการผลิตกำลังพลสำรอง ในการผลิตกำลังพลสำรองประเภทผู้บังคับบัญชาใคร ?เป็นผู้ผลิต
ก. กองทัพบก ข. กองทัพภาค
ค. หน่วยบัญชาการกำลังสำรอง ง. พ.ร.บ.รับราชการทหาร

๘๒. ระบบการผลิตกำลังพลสำรองของประเทศสหรัฐอเมริกา กำลังพลสำรองได้มาอย่างไร ?
ก. ใช้ระบบอาสาสมัคร ข. ใช้กฎหมายบังคับ
ค. ใช้การสอบคัดเลือก ง. ไม่มีข้อใดถูก
๘๓. ระบบการผลิตกำลังพลสำรองของประเทศอิสราเอล กำลังพลสำรองได้มาอย่างไร ?
ก. ใช้ระบบอาสาสมัคร ข. ใช้กฎหมายบังคับ
ค. ใช้การสอบคัดเลือก ง. ไม่มีข้อใดถูก
๘๔. ระบบการผลิตกำลังพลสำรองของประเทศสิงคโปร์ กำลังพลสำรองได้มาอย่างไร ?
ก. ใช้ระบบอาสาสมัคร ข. ใช้กฎหมายบังคับ
ค. ใช้การสอบคัดเลือก ง. ไม่มีข้อใดถูก
๘๕. ระบบการควบคุมกำลังพลสำรองของประเทศไทย ในการควบคุมกำลังพลสำรองในเขตพื้นที่ ที่ขึ้นตรงต่อกองทัพภาค หน่วยใดเป็นผู้ควบคุม
ก. นสร. ข. มทบ.
ค. ศูนย์ฝึกต่าง ๆ ง. หน่วยฝึกต่าง ๆ
๘๖. ระบบการควบคุมกำลังพลสำรองของประเทศไทยควบคุมอย่างไร ?
ก. หน่วยบรรจุกำลัง ข. แผนกสัสดีต่าง ๆ
ค. กฎหมาย,ระเบียบ,คำสั่งข้อบังคับ ง. การเกณฑ์
๘๗. ระบบการควบคุมกำลังพลสำรองของประเทศสหรัฐอเมริกาควบคุมอย่างไร ?
ก. หน่วยบรรจุกำลัง ข. แผนกสัสดีต่าง ๆ
ค. กฎหมาย,ระเบียบ,คำสั่งข้อบังคับ ง. การเกณฑ์
๘๘. ระบบการควบคุมกำลังพลสำรองของประเทศอิสราเอลควบคุมอย่างไร ?
ก. หน่วยบรรจุกำลัง ข. แผนกสัสดีต่าง ๆ
ค. กฎหมาย,ระเบียบ,คำสั่งข้อบังคับ ง. การเกณฑ์
๘๙. ระบบการควบคุมกำลังพลสำรองของประเทศสิงคโปร์ควบคุมอย่างไร ?
ก. หน่วยบรรจุกำลัง ข. แผนกสัสดีต่าง ๆ
ค. กฎหมาย,ระเบียบ,คำสั่งข้อบังคับ ง. การเกณฑ์
๙๐. ระบบการเรียกกำลังพลสำรอง ประเภทนายทหารสัญญาบัตรซึ่งจะต้องใช้คำสั่งเรียก การดำเนินการเมื่อ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง กลาโหมอนุมัติการเรียกแล้ว ใคร? เป็นผู้ส่งคำสั่งเรียกพลไปยังนายทหารสัญญาบัตร
ก. ผบ. จทบ. ข. ผบ.มทบ.
ค. ผบ.นสร. ง. เจ้าหน้าที่ฝ่ายมหาดไทย
๙๑. ระบบการเรียกกำลังพลสำรอง ประเภทนายทหารประทวนและพลทหาร ใครเป็นผู้ดำเนินการเรียกโดยอาศัยอำนาจตาม พ.ร.บ. รับราชการทหาร ?
ก. เจ้าหน้าที่ฝ่ายมหาดไทย ข. ผบ. จทบ.
ค. ผบ.มทบ. ง. ข้อ ข และข้อ ค ถูก
๙๒. ระบบการเรียกกำลังพลสำรองของประเทศไทย ใช้อย่างไร ?
ก. ใช้คำสั่งเรียก ข. ใช้ประกาศเรียก
ค. ใช้หมายเรียก ง. ถูกทั้งข้อ ก และข้อ ค
๙๓. ระบบการเรียกกำลังพลสำรองของประเทศสหรัฐอเมริกา ใช้อย่างไร ?
ก. ใช้แผนกสัสดีต่าง ๆ เป็นผู้เรียก ข. ใช้หน่วยเป็นผู้เรียก
ค. กองทัพเป็นผู้เรียก ง. ไม่มีข้อใดถูก
๙๔. ระบบการเรียกกำลังพลสำรองของประเทศอิสราเอล ใช้อย่างไร ?
ก. ใช้คำสั่งเรียก (ไม่เปิดเผย) ข. ใช้ประกาศเรียก (เปิดเผย)
ค. ใช้หมายเรียก ง. ถูกทั้งข้อ ก และข้อ ข
๙๕. ระบบการเรียกกำลังพลสำรองของสิงคโปร์ ใช้อย่างไร ?
ก. ใช้คำสั่งเรียก (ไม่เปิดเผย) ข. ใช้ประกาศเรียก (เปิดเผย)
ค. ใช้หมายเรียก ง. ถูกทั้งข้อ ก และข้อ ข
๙๖. ระบบการฝึกศึกษากำลังพลสำรองเพื่อเลื่อนยศ และเลื่อนฐานะ กำลังพลสำรองผู้มีคุณสมบัติและได้รับอนุมัติให้เข้ารับการฝึกแล้ว จะไปทำการฝึกที่ใด ?
ก. ศูนย์ฝึก หรือหน่วยฝึก ข. รร. กสร.ศสร.
ค. รร.รด.ศสร. ง. ข้อ ข และข้อ ค ถูก
๙๗. ระบบการฝึกศึกษากำลังพลสำรองของประเทศไทยแบ่งการฝึกเป็นแต่ละประเภท อยากทราบว่า
กำลังพลสำรองขั้นต้น ฝึกอย่างไร ?
ก. พัฒนาสัมพันธ์ และทดสอบความพร้อมรบ ไม่เกิน ๓ วัน
ข. ฝึก ชกท. ๘๐ ชั่วโมง
ค. ฝึกเป็นหน่วยทางยุทธวิธี (ภาคกองร้อย และภาคกองพัน) ๒ ครั้ง ครั้งละไม่เกิน ๑๐ วัน
ง. ถูกทั้ง ข้อ ข และข้อ ค
๙๘. ระบบการฝึกศึกษากำลังพลสำรองของประเทศไทยแบ่งการฝึกเป็นแต่ละประเภท อยากทราบว่า
กำลังพลสำรองพร้อมรบ ฝึกอย่างไร ?
ก. พัฒนาสัมพันธ์ และทดสอบความพร้อมรบ ไม่เกิน ๓ วัน
ข. ฝึก ชกท. ๘๐ ชั่วโมง
ค. ฝึกเป็นหน่วยทางยุทธวิธี (ภาคกองร้อย และภาคกองพัน) ๒ ครั้ง ครั้งละไม่เกิน ๑๐ วัน
ง. ข้อ ข และข้อ ค ถูก
๙๙. ระบบการฝึกศึกษากำลังพลสำรองของประเทศไทยแบ่งการฝึกเป็นแต่ละประเภท อยากทราบว่า
กำลังพลสำรองเตรียมพร้อม ฝึกอย่างไร ?
ก. พัฒนาสัมพันธ์ และทดสอบความพร้อมรบ ไม่เกิน ๓ วัน
ข. ฝึก ชกท. ๘๐ ชั่วโมง
ค. ฝึกเป็นหน่วยทางยุทธวิธี (ภาคกองร้อย และภาคกองพัน) ๒ ครั้ง ครั้งละไม่เกิน ๑๐ วัน
ง. ข้อ ข และข้อ ค ถูก
๑๐๐. ระบบการฝึกศึกษากำลังพลสำรองของประเทศไทยแบ่งการฝึกเป็นแต่ละประเภท อยากทราบว่า
กำลังพลสำรองทั่วไป ๓ รุ่นปี ฝึกอย่างไร ?
ก. พัฒนาสัมพันธ์ และทดสอบความพร้อมรบ ไม่เกิน ๓ วัน
ข. ฝึก ชกท. ๘๐ ชั่วโมง
ค. ฝึกเป็นหน่วยทางยุทธวิธี (ภาคกองร้อย และภาคกองพัน) ๒ ครั้ง ครั้งละไม่เกิน ๑๐ วัน
ง. ข้อ ข และข้อ ค ถูก
๑๐๑. ระบบการฝึกศึกษากำลังพลสำรองของประเทศสหรัฐอเมริกา กำลังพลสำรองจะทำการฝึกอย่างไร
ก. ฝึกปีละไม่น้อยกว่า ๒๐ วัน ข. ฝึกปีละ ๓๘ วัน
ค. ฝึกปีละไม่เกิน ๔๒ วัน ง. ฝึก ชกท.ปีละ ๘๐ ชั่วโมง
๑๐๒. ระบบการฝึกศึกษากำลังพลสำรองของประเทศอิสราเอล กำลังพลสำรองจะทำการฝึกอย่างไร ?
ก. ฝึกปีละไม่น้อยกว่า ๒๐ วัน ข. ฝึกปีละ ๓๘ วัน
ค. ฝึกปีละไม่เกิน ๔๒ วัน ง. ฝึก ชกท.ปีละ ๘๐ ชั่วโมง
๑๐๓. ระบบการฝึกศึกษากำลังพลสำรองของประเทศสิงคโปร์ กำลังพลสำรองจะทำการฝึกอย่างไร ?
ก. ฝึกปีละไม่น้อยกว่า ๒๐ วัน ข. ฝึกปีละ ๓๘ วัน
ค. ฝึกปีละไม่เกิน ๔๒ วัน ง. ฝึก ชกท.ปีละ ๘๐ ชั่วโมง
๑๐๔. ระบบการบรรจุและการใช้กำลังพลสำรองของประเทศไทย มีหลักการใช้อย่างไร ?
ก. ใช้เสริมกำลังกองประจำการ ข. ใช้ทดแทนกำลัง
ค. ใช้ขยายกำลังและจัดตั้งหน่วยใหม่ ง. ถูกทุกข้อ
๑๐๕. ระบบการบรรจุและการใช้กำลังพลสำรองของประเทศสหรัฐอเมริกาดำเนินการอย่างไร ?
ก. บรรจุกำลังประจำการ ๒๐ %
ข. บรรจุกองหนุน ๒๙ %
ค. บรรจุกำลังประจำการ : กำลังพลสำรอง เป็น ๕๑ : ๔๙ %
ง. ข้อ ก และ ข้อ ข ถูก
๑๐๖. ระบบการบรรจุและการใช้กำลังพลสำรองของประเทศอิสราเอลดำเนินการอย่างไร ?
ก. บรรจุกำลังประจำการ ๓๐ %
ข. บรรจุกำลังพลสำรอง ๗๐ %
ค. บรรจุกำลังพลสำรอง : กำลังประจำการ ๗๐ : ๓๐ %
ง. ถูกทุกข้อ
๑๐๗. ระบบการบรรจุและการใช้กำลังพลสำรองของประเทศสิงคโปร์ดำเนินการอย่างไร ?
ก. บรรจุกำลังประจำการ ๑ กองพล กำลังพลสำรอง ๒ กองพล
ข. บรรจุกองหนุน ๕๐ %
ค. บรรจุกำลังประจำการ ๒ กองพล กำลังพลสำรอง ๑ กองพล
ง. ข้อ ก และ ข้อ ข ถูก
๑๐๘. นายทหารประทวนกองหนุนของประเทศสหรัฐอเมริกา ได้มาจากไหน ?
ก. กฎหมายรับราชการทหาร ข. พลทหารที่เติบโตตามแนวทางรับราชการ
ค. จากนักศึกษา ง. ไม่มีข้อใดถูก
๑๐๙. นายทหารสัญญาบัตรของประเทศอิสราเอล ได้มาจากไหน ?
ก. กฎหมายรับราชการทหาร
ข. นายทหารประทวนที่เติบโตตามแนวทางรับราชการ
ค. ได้จากนายทหารที่ผ่านการทดสอบไอคิว
ง. ไม่มีข้อใดถูก
๑๑๐. พลทหารกองหนุนของประเทศสิงคโปร์ได้มาจากไหน ?
ก. จากการรับสมัคร
ข. พลทหารที่รับราชการครบแล้วปลดเป็นกองหนุน
ค. จากนักศึกษา
ง. ไม่มีข้อใดถูก
๑๑๑. กฎกระทรวง(พ.ศ.๒๔๙๙) ข้อ ๔ พลทหารและนายทหารประทวนนอกประจำการแต่งเครื่องแบบทหารได้ในโอกาสใด ?
ก. วันปฏิบัติราชการ ข. ถูกเรียกระดมพล
ค. ถูกเรียกเข้ารับราชการทหาร ง. ถูกทั้งข้อ ข และข้อ ค
๑๑๒. กฎกระทรวง(พ.ศ.๒๔๙๙) ข้อ ๖ นายทหารสัญญาบัตรนอกประจำการแต่งเครื่องแบบทหารได้ในโอกาสใด ?
ก. ทุกโอกาส ข. ถูกเรียกระดมพล
ค. ถูกเรียกเข้ารับราชการทหาร ง. ข้อ ข และข้อ ค ถูก
Google